พียูโฟม(P.u.foam)ป้องกันเสียง ติดต่อ คุณ พิเชษฐ ธิันนท์ 085-0824713 ราคาประทับจิต คุณภาพประทับใจ โทรมานะครับ
Email_Yaistar05@Gmail.com
การดูดกลืนเสียงของฉนวนกันเสียงโดย รองศาสตราจารย์ ดร. วันชัย โพธ์พิจิตร ห้องปฏิบัติการเสียง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2533
วัถถุประสงค์
เพื่อทำการวัดหาค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียง(Sound Absorption Coefficient) ของฉนวนชนิดต่างๆ โดยวิธีห้องกังวาล (Reverberation room Menthod)ทฤษฎีเมื่อแหล่งกำเหนิดเสียงในห้องหยุดส่งเสียง เสียงจะจางหายได้เร็วแค่ไหนขึ้นอยู่กับคุณสมบัติการดูดซึมเสียง (Sound Absorbtion) ของพื้นผิวต่างๆภายในห้อง ช่วงเวลาที่ระดับความดันเสียง (Sound Pressure Level) ลดลง 60 เดซิเบล (db) เรียกว่าเวลาการกังวาน (Reverberation Time) ห้องที่มีการดูดกลืนเสียงมาก เสียงจางหาเร็วเวลาการกังวานจะสั้น เสียงในห้องไม่ก้อง เป็นการช่ายลดเสียงรบกวนไปในต้วโดยทั่วไปพลังงานเสียงที่ถูกดูดกลืนจะขึ้นอยู่กับมุมตกกระทบบนพื้นผิว ดังนั้นการวัดคุณสมบัติ การดูดซึมเสียงของพื้นผิวควารได้ค่าเฉลี่ยสำหรับมุมตกกระทบต่างๆ ซึ่งเป็นสถานการณ์ เช่น ที่เกิดในห้องกังวาน (Reverberation Room)
สูตรของซาบีน(Sabine's formula)
เมื่อ T คือเวลากังวานเป็นวินาที
V คือปริมาตรของห้อง เป็นลูกบาศก์เมตร
C คือความเร็วเสียงในอากาศ เป็นเมตรต่อวินาที (=331+0.6t เมื่อ t เป็นองศาเชลเซียส)
A คือพื้นที่การดูดกลืนเสียงสมมูลย์ (Equivalent Sound Absorbtion Area) เป็นตารางเมตร
ถ้าวัดเวลาการกังวาน T3 ของห้องกังวานเปล่ที่ไม่มีตัวอย่างวัสดุทดสอบ จะคำนวณหาพื้นที่การดูดกลืนเสียงสมมูลย์ A1 ของห้องเปล่าได้ หลังจากนั้นทำการวัดเวลาการกังวาน Te ของห้องที่ได้ติดตั้งตัวอย่างวัสดุทดสอบมาคำนวณหาพื้นที่การดูดกลืนเสียงสมมูลย์ A ของตัวอย่างวัสดุทดสอบถ้า S เป็นพื้นที่ผิวตัวอย่างวัสดุทดสอบ A หารด้วย S ก็คือสัมประสิทธิ์การดูดกลืนเสียง(Sound Absorption Coefficient, a) ของวัสดุทดสอบนั้นๆ
เสียง (SOUND)
เกิดจากการสั่นสะเทือนของต้นกำเหนิดเสียงจากการกระทบต่ออนุภาคของตัวกลางที่อยู่รอบๆ เคลื่อนที่ไปเป็นคลื่น โดยเสียงจะเดินทางได้ดีจากของแข็ง จากของเหลว ก๊าซ แต่ไม่สามารถเดินทางในสูญญากาศได้
เสียงดัง (NOISE)
เป็นเสียงที่เราไม่ปราถนา การที่เสียงดังที่เกิดการรบกวนนั้นขึ้นอยู่กับความเข็มของเสียง เช่น เสียงที่มีความถี่สูง จะรบกวนมากกว่าเสียงที่มีความถี่ต่ำเสียงบริสุทธิ์(Pure Tone) จะรบกวนมากกว่าเสียงที่ประกอปด้วยเสียงหลายๆเสียง
ความถี่ (HERTZ)
คือจำนวนการสั่นสะเทือนต่อวินาที เรียกหน่วยความถี่เป็น Hertz ความถี่ที่ได้ยินจะอยู่ในช่วง 20-20,000 Hz โดยปกติเราจะกำหนดเสียงที่ความถี่ทุกๆ 1,000 Hz เป็นตัวแบ่งระหว่างเสียงที่มีคว่ามถี่สูงและเสียงที่มีความถี่ต่ำ เสียงควรจะเป็นเสียงเดียว ความถี่เดียว(Pure Tone) แต่ทั่วไปแล้วจะประกอปด้วยเสียงหลายๆเสียง เสียงที่มีความเข็มต่างกัน และเรียกเสียงที่มีความต่ำ(Low frequency) ว่าBass tones ส่วนเสียงที่มีความถี่สูง (High frequency) ว่า Soprano tones
ระดับเสียง (dB) ที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน
WOOD...........................................................................................10 dB
WHISPERING.............................................................................20 dB
BEDROOM...................................................................................40 dB
DINER............................................................................................50 dB
OFFICE..........................................................................................60 dB
INSIDE CAR.................................................................................80 dB
STEREO MUSIC........................................................................90 dB
INDUSTRIAL NOISE..............................................................100 dB
PNEUMATIC DRILL................................................................120 dB
AIR CRAFT................................................................................140 dB
สถานบันเทิง ที่ต้องการใช้เสียง เกิดปัญสำหรับเจ้าของกิจการต่างก็ครวญ หากควบคุมเสียงไม่ได้ตามกำหนด เนื่องจากสถานที่แบบนี้ต้องการเสียงที่ค่อนข้างเสียงดังในระดับ 110-120 dB โดยทั่วไปวัดระดับเสียงดังสุดได้ 148 dB เพื่อความเร้าใจ จึงจะดึงดูดคนเทียว สะใจนักท่องราตรีมืออาชีพ แต่ถูกกำหนดให้ไม่เกิน 91 dB เท่านั้น
ขอเสนอฉนวนป้องกันเสียงที่มีประสิทธิภาพที่มาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากฉนวนกันความร้อน พี.ยู.โฟมลักษณะโครงสร้างเป็นเซลล์ปิด เมื่อพ่นติดกับวัสดุชิ้นงานต่างๆ จะยึดติดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน ไม่มีรอยต่อ จึงพิสูจน์ได้ว่าสามารถป้องกันเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นจากภายนอกอาคาร ป้องกันเสียงดังจากภายในโรงงานอุตสาหกรรม สถานบันเทิงต่างๆได้เป็นอย่างดีเสียงที่เราได้ยินตามปกตินั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศ ถ้าอากาศสั่นสะเทือนมาก เสียงก็จะดังมาก โดยเราอาจวัดวความสั่นสะเทือนนี้ในหน่วยวัตต์ ต่อตารางเมตรซึ่งเรียกว่า ความเข้ม(Intensity) ของเสียงแต่เนื่องจากประสาทหูของคนเรามีความมหัศจรรย์น่าพิศวง เพราะสามารถได้ยินเสียงอันแผ่วเบาได้ในระดับใบไม้หล่นกระทบพื้น ไปจนถึงเสียงกัมปนาทเช่น เสียงประทัด โดยระดับความเข้มของเสียงที่เบาที่สุดและดังที่สุด (ที่หูทนได้) ต่างกันถึงล้านล้านเท่า เนื่องจากความแตกต่างกันมากถึงขนาดนี้ ทำให้การระบุตัวเลขด้วยความเข้มทำได้ไม่สะดวก จึงมีการกำหนดหน่วยวัดความดังของเสียง Loudness) หรือระดับเสียง (Sound level) เสียใหม่ เรียกว่า เดซิเบล(decibel-ย่อว่า dB) โดยหน่วยเดซิเบลนี้มีความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ กับความเข้มของเสียงเป็นแบบล็อกการิทึม(logarithm) และนิยามให้ระดับเสียงต่ำสุดที่มนุษย์สามารถได้ยินได้ ก็คือ 0 เดซิเบล(dB) โดยที่ทุกๆ 10 เดซิเบลที่เพิ่มขึ้น หูของคนเราจะได้ยินดังขึ้นราว 2 เท่า
พียูโฟม(P.u.foam)ป้องกันเสียง ติดต่อ คุณ พิเชษฐ ธิันนท์ 085-0824713 ราคาประทับจิต คุณภาพประทับใจ โทรมานะครับ Email_Yaistar05@Gmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น